วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2559

หลักในการอ่านกลอน


หลักในการอ่านกลอน 

 
มีหลักโดยทั่วไปที่ควรรู้ไว้ดังนี้ ...

1. ต้องรู้ลักษณะของบทประพันธ์ที่จะอ่านเช่น เอก โท ครุ ลหุ สัมผัส และ พยางค์ ที่บรรจุลงในวรรคหนึ่งๆ

2. ต้องรู้จังหวะและการแบ่งตอนของบทประพันธ์ที่จะอ่าน

3. คำที่รับสัมผัสกัน ต้องอ่านเน้นเสียงให้ชัดกว่าปกติ ถ้าเป็นสัมผัสนอกต้องทอดเสียงให้ยาวกว่าธรรมดา

4. ห้ามเอื้อนเสียงที่คำลหุ เพราะมีเสียงสั้นและเบา

5. พยางค์ที่ใช้เกิน ให้อ่านเร็วและเบาอย่างอักษรนำ เพื่อให้เสียงไปตกอยู่ตรงพยางค์ที่ต้องการ เช่น ในแผนกำหนดให้ บรรจุคำหน่วยละ 1 พยางค์ แต่ผู้ประพันธ์บรรจุคำ 2 พยางค์ลงไปในหนึ่งหน่วย เช่น ดิลก ประโยชน์ ขยาย สมร ระลึก ฯลฯ คำที่มีพยางค์เกินเช่นนี้ต้องอ่านเสียงให้มาตกอยู่ที่พยางค์หลัง

6. เสียงวรรณยุกต์จัตวา ต้องอ่านเสียงให้สูงและดังก้อง

7. ต้องอ่านเสียง  และ  ให้ชัดเจน อย่าให้เสียงสลับกัน มิฉะนั้นผู้ฟังอาจจะเข้าใจความหมายคลาดเคลื่อนได้

8. เมื่ออ่านไปถึงตอนจะจบบท ต้องเอื้อนเสียงและทอดจังหวะให้ช้าลงจนกระทั่งจบบท


***อย่าซีเรียสเกินไปเรามาฟังเพลงกันดีกว่าาาา...คลิกที่นี่เลยค่ะ



ตัวอย่างการอ่านกลอน


ตัวอย่างการอ่านกลอนเพราะๆ นะคะ

          เราไปฟังกันเลยยย!!!



  1. กลอนสุภาพ
        
         หรือจะไปฟังกลอนสุภาพเพราะๆ กดที่นี่เลย...


2. กลอนลำนำ
                  
         1) กลอนดอกสร้อย


          2) กลอนสักวา


         
          3) กลอนเสภา



          4) กลอนบทละคร



  3. กลอนตลาด
                    
           1) กลอนเพลงยาว


  
           2) กลอนนิราศ



          3) กลอนปฏิพากย์